หลักสูตรสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและหุ่นยนต์ |
แผนการเรียน |
Click |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา |
1. วิศวกรหรือผู้ช่วยวิศวกรหุ่นยนต์ (Robotic Engineer) |
2. วิศวกรหรือผู้ช่วยวิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Engineer) |
3. วิศวกรหรือผู้ช่วยวิศวกรควบคุมหุ่นยนต์ (Robotic control Engineer) |
4. วิศวกรรผู้ช่วยวิศวกรฝ่ายขายหุ่นยนต์ (Robotics sales Engineer) |
5. วิศวกรผู้ช่วยวิศวกรระบบควบคุมอัตโนมัติ (Automatic System Engineer) |
6. วิศวกรผู้ช่วยวิศวกร IoT (IoT Engineer) |
7. ช่างซ่อมบํารุงหุ่นยนต์(Robotics Maintenance Technician) |
8. ช่างเทคนิคหุ่นยนต์ (Robotics Technician) |
9. นักออกแบบประยุกต์หุ่นยนต์ (Robotics application designer) |
10. นักออกแบบหุ่นยนต์(Robotics designer) |
11. นักวิเคราะห์ความปลอดภัยของหุ่นยนต์ (Robotic Security Analyst) |
12. ผู้จัดการเทคโนโลยีสําหรับหุ่นยนต์ (Technology Manager for Robotics) |
13. ผู้ประกอบการเริ่มต้่นในเทคโนโลยีขั้นสูง (Startup Entrepreneur in High Tech) |
14. ครูอาจารย์ในสถานศึกษา |
15. ประกอบอาชีพอิสระอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านหุ่นยนต์ทางด้านระบบอัตโนมัติทางด้านอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยี |
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.2) |
|
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและหุ่นยนต์ |
> หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2564 |
Click |
> ผลลัพธ์การเรียนรู้ |
Click |
> โครงสร้างหลักสูตร |
Click |
ช่องทางการติดต่อสาขาวิชา |
|