กำหนดการส่งบทความ (Important date) วันเริ่มรับบทความ วันที่ 18 มีนาคม 2562 : วันสุดท้ายการส่งบทความ วันที่ 17 พฤษภาคม 2562 : วันสุดท้ายการแจ้งรับบทความ วันที่ 25 พฤษภาคม 2562 : วันนำเสนอผลงาน วันที่ 6 มิถุนายน 2562 :โอนชำระค่าลงทะเบียนภายในวันที่ 29 พฤษภาคม 2562

  Keynote Speaker

    ศาสตราจารย์ ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง  Prof.Thanaruk Theeramunkong,Ph.D. Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University

    
    นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ พ.ศ.2557

    นายกสมาคมปัญญาประดิษฐ์แห่งประเทศไทย (AIAT)
    ศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

       บรรยายหัวข้อ " ปัญญาประดิษฐ์ ผลกระทบต่อการจัดการศึกษา "

        

 

โครงการจัดการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประยุกต์และระบบสารสนเทศ ครั้งที่ 14
(The 14 th International and National conference in Applied Computer Technology and Information System: ACTIS)
และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจ (NCOBA-2018) และ
การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (NCST)
ณ อาคารเรียนรวม 28 ชั้น 7-8 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
 
วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม 2561

 

 

--- ช่วงเช้า ---
เวลา 08.30-09.00 น. ลงทะเบียนการเข้าร่วมนำเสนอผลงานวิชาการ
  พิธีเปิดการประชุมวิชาการ
เวลา 09.00-09.10 น. กล่าวรายงานโดย คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ (ประธานดำเนินการ)
เวลา 09.10-09.30 น. ชมวิดิทัศน์แสดงผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  กล่าวเปิดการประชุมวิชาการ โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
เวลา 09.30-12.30 น. บรรยายพิเศษ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยืน ภู่สุวรรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  หัวข้อ "สังคมดิจิทัลผลกระทบต่อการจัดการศึกษา"
เวลา 12.30-13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
--- ช่วงบ่าย ---
เวลา 13.30-16.30 น. นำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

 

 หมายเหตุ  กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

 

 

การจัดการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ครั้งที่ 2

(The 2nd CRU-National Conference on Science and Technology : NCST 2nd 2019) ประจำปีการศึกษา 2561

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

 

 

 

ชื่อโครงการ :  การจัดการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 2

ระยะเวลาการดำเนินการ : 6 มิถุนายน 2562

ผู้รับผิดชอบโครงการ : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สถานที่ดำเนินการ : อาคาร 28 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

 หลักการและเหตุผล (About conference)

     คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม จะดำเนินการจัดการประชุมวิชาการจะจัดให้มีขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานครฯ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยของคณาจารย์และบุคคลทั่วไปจากสถาบันอุดมศึกษาหน่วยงาน ทั้งของรัฐและเอกชนในประเทศไทยและต่างประเทศเพื่อเป็นเวทีให้ผู้นำเสนอผลงานวิจัย ได้นำเสนอผลงานการวิจัยที่มีคุณภาพสู่สาธารณชน รวมทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้มีการเสวนา แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับผลการวิจัยระหว่างคณาจารย์นักศึกษาและนักวิชาการ ซึ่งถือเป็นการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานงานวิจัย อีกทั้งยังเป็นการสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นกิกรรมที่ช่วยจะผลักดันคุณภาพงานวิจัย การจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาการด้านวิชาการ ตอบสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัย และเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาประเทศได้อย่างดี
     การประชุมวิชาการประกอบด้วยการบรรยายให้ความรู้ในหัวข้อความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดยวิทยากรพิเศษและการนำเสนอผลงานวิจัยโดยผู้ส่งบทความในรูปแบบการนำเสนอปากเปล่า (Oral presentation) บทความทุกบทความจะถูกพิจารณา เสนอแนะ ในการปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม เพื่อความถูกต้อง สมบูรณ์ โดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer reviewer) ที่เชี่ยวชาญในสาขาที่นำเสนอ หรือเกี่ยวข้อง จำนวนสองท่าน ทุกบทความที่ได้ผ่านการพิจารณาเพื่อการนำเสนอจะได้รับการตีพิมพ์ในเอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการ (CRU-NCST-2nd proceeding) สำหรับบทความที่นำเสนอและได้ทำการปรับปรุงเพิ่มเติม เนื้อหา ตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิได้ให้ข้อเสนอแนะ จะได้รับการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 

 

 วัตถุประสงค์

    1. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยของคณาจารย์ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา บุคคลทั่วไป จากสถาบันอุดมศึกษา ในประเทศและต่างประเทศ
    2. เพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ได้นำเสนอผลงานการวิจัยสู่สาธารณชน
    3. เพื่อเปิดโอกาสให้มีการเสวนา แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เกี่ยวกับผลการวิจัย ระหว่างกัน 
    4. เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานงานวิจัย

 วัน และสถานที่การจัดประชุม

     วันพฤหัสบดี ที่ 6 มิถุนายน 2562 ณ อาคาร 28 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

 รูปแบบการจัดประชุม (Pattern of conference)

     1. การบรรยายพิเศษ (Keynote Lecture)
     2. การนำเสนอผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการ แบบบรรยาย (Oral Presentation)

 ขอบเขตหัวข้อที่เกี่ยวข้อง (Related topics)

    1. ด้านวิทยาศาสตร์
        1.1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การพัฒนาโปรแกรม มัลติมีเดียเกมส์ ปัญญาประดิษฐ์ และข้อมูลขนาดใหญ่
        1.2 คณิตศาสตร์และการประยุกต์ใช้แบบจำลอง
        1.3 การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและวัสดุวิศวกรรม
        1.4 วิทยาศาสตร์การกีฬาและกายภาพบำบัด
        1.5 เทคโนโลยีอาหารและโภชนาการ
        1.6 ชีววิทยาและระบบของสิ่งมีชีวิต
        1.7 เคมีอุตสาหกรรมนวัตกรรมสมุนไพรและวิทยาการเครื่องสำอางค์
        1.8 นวัตกรรมทางด้านพลังงาน ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม การสำรวจภาพถ่ายดาวเทียม วิศวกรรมโยธา
        1.9 เทคโนโลยีการผลิต ห่วงโซ่อุปทาน และการใช้ระบบอัจฉริยะในงานอุตสาหกรรม
        1.10 ฟิสิกส์ประยุกต์ เทคโนโลยีรังสี และการประยุกต์ใช้ควอนตัม
        1.11 ระบบเครือข่ายการสื่อสาร นวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ อุปกรณ์การแพทย์ และเครื่องจักรกลอัตโนมัติ
        1.12 อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

    2. ด้านบริหารธุรกิจ
        2.1 เศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ แนวโน้มทางการเติบโตของภาคธุรกิจและชุมชน
        2.2 ระบบหุ้นออนไลน์ แบบจำลองการทำนายแนวโน้มทางการเงินและการลงทุน
        2.3 บัญชี การตรวจสอบภาคุตสาหกรรม การคลัง และการประเมินสินทรัพย์ 
        2.4 นวัตกรรมการใช้สื่อออนไลน์และสิ่งตีพิมพ์ การสร้างเรื่องราวสะท้อนเหตุการณ์ ศิลปการแสดง 
        2.5 การวิจัยทางการตลาด รูปแบบการวิเคราะห์ปัจจัยจากข้อมูล การสร้างความยั่งยืนของชุมชน
        2.6 การวิเคราะห์ความต้องการของระบบดิจิทัล รูปแบบธุรกิจแบบอีคอมเมิร์ซ ความปลอดภัยของการทำธุรกรรมออนไลน์ และธุรกิจอัจฉริยะ
        2.7 เทคนิคการขาย การตลาดออนไลน์ การใช้บอทในการแนะนำสินค้า และระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
        2.8 นวัตกรรมสนับสนุนการท่องเที่ยว การโรงแรม และการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย
        2.9 ทักษะการเป็นผู้นำ ศิลปะในการทำงานร่วมกัน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สำหรับศตวรรษที่ 21 และการใช้ปัญญาประดิษฐ์สำหรับวิเคราะห์คุณลักษณะของมนุษย์
        2.10 อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

    3. ด้านการศึกษา
        3.1 การใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงกับการศึกษา การใช้ปัญญาประดิษฐ์กับการศึกษา ระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ และเทคโนโลยีการศึกษา 
        3.2 เทคนิคการสอนแบบเชิงรุก การเรียนรู้แบบใช้การตั้งคำถาม การเรียนรู้แบบใช้โครงงาน การเรียนรู้แบบใช้โจทย์วิจัย
        3.3 การสร้างสื่อประสม การ์ตูน การออกแบบบทเรียน การออกแบบการเรียนการสอน
        3.4 จิตวิทยากับความเป็นครู การฝึกจิตและสมาธิ และการออกแบบทดสอบทางจิตวิทยา 
        3.5 ความต้องการของตลาดแรงงานในยุคอุตสาหกรรม 4.0 การออกแบบหลักสูตรกับการพัฒนาชุมชน และการออกแบบหลักสูตรแบบบูรณาการการทำงาน 
        3.6 การสอนปฐมวัย การวัดผลการเรียนรู้ เทคนิคการเขียนตำรา เทคนิคการสอนวิชาทางด้านการคำนวณ
        3.7 เทคนิคการสอนภาษาอังกฤษ การเรียนการสอนแบบสองภาษา การประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์จริง
        3.8 อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

  Advisory Committee

     Assoc.Prof.Sumalee Chaisuparakul, Ph.D. President of Chandrakasem Rajabhat University

     Asst.Prof. Amnat Sawatnatee, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University

     Prof. Piya Kovintavewat, Ph.D. Nakhon Pathom Rajabhat University

     Suwut Tumthong, Ph.D. Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi

      Adirek Yaowong, Ph.D. Rajabhat Rajanagarindra University

     Asst.Prof.Sudasawan Ngammongkolwong, Ph.D. Southeast Bangkok College


  Committees and Reviewers 

  • Prof.Uthit Siriwan, Ph.D. Charisma University, Providenciales, Turks and Caicos, UK
  • Assoc.Prof.Pongsathorn Chomtong, Ph.D. King Mongkut's University of Technology North Bangkok
  • Assoc.Prof.Thavatchai Ngamsantivong, King Mongkut's University of Technology North Bangkok
  • Assoc.Prof.Suchada Ratanakongnate, King Mongkut's University of Technology North Bangkok
  • Assoc.Prof.Pallop Piriyasurawong, Ph.D. King Mongkut's University of Technology North Bangkok
  • Assoc.Prof.Prachyanun Nilsook, Ph.D. King Mongkut's University of Technology North Bangkok
  • Assoc.Prof.Panita Wannapiroon, Ph.D. King Mongkut's University of Technology North Bangkok
  • Asst.Prof.Sotarat Thammaboosadee, Ph.D. Mahidol University
  • Assoc.Prof.Phumin Kirawanich, Ph.D. Mahidol University
  • Assoc.Prof.Methinee Wongwanich Rumpagaporn, Ph.D. Kasetsart University
  • Assoc.Prof.Pattarawat Jeerapattanatorn, Ph.D. Kasetsart University
  • Assoc.Prof.Annop Monsakul, Ph.D. Thai-Nichi Institute of Technology
  • Suwit Somsuphaprungyos, Ph.D. Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi
  • Wichuphon Chariyamakarn, Ph.D. Princess of Naradhiwas University
  • Prapai Sridama, Ph.D. Bansomdejchaopraya Rajabhat University
  • Narong Phothi, Ph.D. Ministry of Education
  • Taneth Ruangrajitpakorn, National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC)
  • Wasan Na Chai, National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC)
  • Patharawut Saengsiri, Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR)
  • Amnat Foomang, Rice Department, Ministry of Agriculture and Cooperatives
  • Ratthasart Soimart, Marine Department, Ministry of Transport
  • Tanaruk Limjitsomboon, True Corporation
  • Asst.Prof.Ratapol Sornprasert, Chandrakasem Rajabhat University
  • Asst.Prof.Trinnakorn Katekunlaphan, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Asst.Prof.Duangporn Garshasbi, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Asst.Prof.Chanaua Preecha, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Asst.Prof.Jaran Ratanachotinun, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Asst.Prof.Chantarat Kingsaeng, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Sukanda Chaiyong, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Manop Phoosuwan, Chandrakasem Rajabhat University
  • Lawankorn Mookdarsanit, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Plernpit Yasin, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Pattrawut Boonprakong, Chandrakasem Rajabhat University
  • Patanachai Janthon, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Paphada Nawagarn, Chandrakasem Rajabhat University
  • Kanuengnit Patoommakesorn, Chandrakasem Rajabhat University
  • Napapan Chokumnoyporn, Ph.D. Chandrakasem Rajabhat University
  • Assoc.Prof.Siam Arunsrimoragot, Ph.D. Mahidol University
  • Asst.Prof.Saowalee Kaewchuay, Ph.D. Mahidol University
  • Asst.Prof.Werapon Chiracharit, Ph.D. King Mongkut's University of Technology Thonburi
  • Dittachai Chankuna, DBA. Chandrakasem Rajabhat University

 

 

  รูปแบบบทความ (Paper template)

 

   บทความผลงานวิจัยภาษาไทย หรือ อังกฤษ 

        ที่จะนำเสนอในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีครั้งที่ 2 (The 2nd National Conference in Science and Technology) จะใช้รูปแบบบทความ (Paper template) ตัวอักษร (Font) และการอ้างอิง (Reference) ดังนี้ (Template NCST

        ตัวอย่างบทความ  LINK

 

  การส่งผลงาน

     การส่งบทความให้จัดเตรียมบทความส่งในรูปแบบ .doc ไม่ต้องระบุชื่อผ่านทาง This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

           พร้อมแนบ ใบสมัครการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ครั้งที่ 2

    ดาวโหลดใบสมัคร [.doc / .pdf]

 

  การพิจารณาผลงาน

    บทความที่ผ่านการพิจารณาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะได้รับการพิจารณานำเสนอในที่ประชุมวิชาการ ตามวันเวลาที่กำหนด โดยแต่ละบทความจะถูกพิจารณาโดยอาจมีการเสนอแนะให้มีการปรับ ปรุงแก้ไข เพิ่มเติมในบางประเด็นทั้งนี้เพื่อให้บทความมีความถูกต้องและสมบูรณ์ การพิจารณาจะกระทำโดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสองท่านในรูปแบบปกปิด (Double blind peer review)

       (ทั้้งนี้การดำเนินการประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิจะใช้เวลาโดยเฉลี่ยไม่เกิน 7 วัน)